นักวิทยาศาสตร์ของเรา
รศ.ดร.ศิริวรรณ องค์ไชย (แย้มนิยม)
รศ.ดร.ศิริวรรณ องค์ไชย (แย้มนิยม)
ประวัติการศึกษา
  • ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ชีวเคมี) 2542 มหาวิทยาลัยแมนเชสเตอร์ ประเทศอังกฤษ
  • วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (ชีวเคมี) 2530 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ประเทศไทย
  • วิทยาศาสตรบัณฑิต (เคมี) 2525 คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ประเทศไทย
สาขาที่เชี่ยวชาญ
  • การตรวจสอบฤทธิ์สารจากธรรมชาติและพืชสมุนไพรต้านโรคข้อเสื่อม
  • ชีวเคมีของโรคข้อกระดูกเสื่อม
  • Biochemistry of extracellular matrix
  • Thalassemia and abnormal hemoglobins
รางวัลที่เคยได้รับ
  • พ.ศ. 2538-2542 ทุน กพ.เพื่อศึกษาต่อปริญญาเอกประเทศอังกฤษ
  • พ.ศ. 2539-2540 ทุนสมทบการศึกษาปริญญาเอกจากคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
  • พ.ศ. 2544 เกียรติบัตรรางวัลประเภทดีในการประกวดผลงานทางวิชาการวันมหิดล ครั้งที่ 25 ประเภทงานวิจัยพื้นฐาน คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เรื่อง “การฉีด Hydrocortisone succinate เข้าข้อเข่าสามารถเหนี่ยวนำให้เกิดการเสื่อมทำลาย กระดูกอ่อนผิวข้อของกระต่าย”
  • พ.ศ. 2544 เกียรติบัตรรางวัลประเภทดีในการประกวดผลงานทางวิชาการวันมหิดล ครั้งที่ 25 ประเภทงานวิจัยประยุกต์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เรื่อง “ชุดน้ำยาสำเร็จรูปต้นแบบสำหรับการตรวจวัดระดับไฮยาลูโรแนน เพื่อการวินิจฉัยโรค ”
  • พ.ศ. 2545 เกียรติบัตรรางวัลประเภทดีในการประกวดผลงานทางวิชาการวันมหิดล ครั้งที่ 26 ประเภทงานวิจัยพื้นฐานคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เรื่อง “การเปลี่ยนแปลงระดับไฮยาลูโรแนนและคอนดรอยตินซัลเฟตอิพิโทปในซีรั่มของม้าที่ช่วงอายุต่าง ๆ และม้าที่เป็นโรคข้อเสื่อม”
  • พ.ศ. 2548 รางวัลโปสเตอร์ประเภทดีในการประกวดผลงานทางวิชาการวันมหิดลครั้งที่ 29 ประจำปี2550 ประเภทการวิจัยพื้นฐาน คณะแพทยศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เรื่อง “Zingiber Cassumunar RoxB. Extract inhibits gelatinase activity in oral epithelial cells”
  • พ.ศ. 2549 เกียรติบัตรผู้ปฏิบัติหน้าที่กรรมการที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ได้อย่างมีคุณภาพดียิ่ง ทำให้วิทยานิพนธ์ดุษฎีบัณฑิตสาขาชีวเคมี คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ของนางสาวพีรพรรณ โปธาเจริญ ได้รับการพิจารณาให้เป็น วิทยานิพนธ์ดีมาก ประจำปีการศึกษา 2549
ผลงานทางวิชาการ
  • Chiyasut C, Tsuda T, Khansuwan U and Ong-chai S. Red blood cell lysis at the single cell level by using a mini electrophoresis apparatus. Chromatography 2002;23(1):33-38.
  • Ong-chai S, Pothacharoen P, Yingsung W, Sugahara K, Hardingham TE and Kongtawelert P. Changes in serum chondroitin sulfate epitopes in rabbit model of osteoarthritis induced by intra-articular hydrocortisone injection. Osteoarthritis Cartilage 2002; 10 (suppl. A):51-3.
  • Kongtawelert P, Tangkijvanich P, Ong-chai S, Poovorawan Y. Role of serum total sialic acid in differentiating cholangiocarcinoma from hepatocellular carcinoma. World J Gastroenterol. 2003 Oct;9(10):2178-81.
  • Chattipakorn SC, Ong-chai S, Kongtawerlert P and Chattipakorn N. (2004) Hyaluronan Profiles in human saliva among differenct inflammatory levels of periodontal condition. J Dent Assoc Thai. 53(3): 170-175
  • Nganvongpanit K and Ong-chai S. (2004) Biological Marker for Canine Oseoarthritis Diagnosis. CMU Vet J. 2:39-49.
  • กรกฏ งานวงศ์พานิชย์ ศิริวรรณ องค์ไชย (2547) การใช้สารพอลิซัลเฟตกลัยโคซามิโนกลัยแคนในการรักษาโรคข้อเสื่อม วารสารสัตวแพทย์ผู้ประกอบการบำบัดโรคสัตว์ 16(4):25-33
  • Nganvongpanit K and Ong-chai S. (2004) Serum chondroitin sulfate of healthy dogs related to gender and weight. J Thai Vet Pract. 16(4): 37-49
  • Ong-chai S, Itthiarbha A, Chaiwongsa R, Molk F, Fernandes P, and Kongtawelert P (2004) Diacereine reduces porcine articular cartilage degradation in explant cultures. Abstract book of the 11th Asia Pacific League of Associations for Rheumatology Congress. Jeju, Korea. page 111.
  • Kantamoon C, Ong-chai S and Sanguansermsri T (2005) Molecular Characterization of 0-Thalassemia in Patients with Hemoglobin H (Hb H) disease and in Hb Bart’s Hydropic Fetus. Royal Thai Army Med J. 58(4):1-6
  • Nganvongpanit K, Suwankong N, Jitpean S and Ong-chai S. (2005) The changes of serum chondroitin sulfate in the induced osteoarthritic dogs after chitisan polysufate administration. J Thai Vet Pract. 17(3): 27-39
  • Ong-chai S, Chaiwongsa R, Kongtawelert P and Reutrakul V (2005) The extract of Plai (Zingiber cassumunar Roxb.) inhibits cartilage degradation in explant culture model. Abstract book of the 1st International Conference on National Products for Health and Beauty. 17th-21st October 2005. Maha Sarakham, Thailand.
  • Pothacharoen P, Teekachunhatean S, Louthrenoo W, Yingsung W, Ong-Chai S, Hardingham T, Kongtawelert P. (2006) Raised chondroitin sulfate epitopes and hyaluronan in serum from rheumatoid arthritis and osteoarthritis patients. Osteoarthritis Cartilage. 14(3):299-301.
  • กรกฎ งานวงศ์พาณิชย์ อัคนิตย์ อิทธิอาภา ปรัชญา คงทวีเลิศ และ ศิริวรรณ องค์ไชย. 2548. การศึกษาเปรียบเทียบระดับคอนดรอยตินซัลเฟตชนิด WF6 และ 3B3 ในซีรั่มสุนัขที่พบและไม่พบรอยโรคข้อสะโพกเจริญผิดปกติ สัตวแพทยสาร 56(3):1-12
  • Pothacharoen P, Siriaunkgul S, Ong-chai S, Supabandhu J, Kumja P, Wanaphirak C, Sugahara K, Hardingham TE, Kongtawelert P (2006) Raised Serum Chondroitin Sulfate Epitope Level in Ovarian Epithelial Cancer. J. Biochem. 140, 517 - 524.
  • Hartwell SK , Somprayoon D, Kongtawelert P, Ongchai S, Arppornchayanon O, Ganranoo L, Lapanantnoppakhun S, Grudpan K. (2007) Online assay of bone specific alkaline phosphatase with a flow injection-bead injection system. Analytica Chimica Acta 6 0 0 ( 2 0 0 7 ) 188 - 193
  • Ukarapol N, Wongsawasdi L, Ong-chai S , Riddhiputra P, Kongtawelert P (2007) Hyaluronic acid: Additional biochemical marker in the diagnosis of biliary atresia. Pediatrics Int. 2007; 49:608-11.